พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระชัยวัฒน์อรหั...
พระชัยวัฒน์อรหังหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
พระชัยวัฒน์อรหัง หลวงปู่แหวน สุจิณโณ(ไม่ตัดช่อ)
พระกริ่งพระชัยวัฒน์แบบแยกออกมาจากช่อ ในช่อพระกริ่งพระชัยวัฒน์อรหัง หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ปี ๒๕๑๗
ในการสร้างครั้งนี้ได้มีการเทพระกริ่ง และพระชัยอรหังเนื้อนวะโลหะ จำนวนการสร้าง ไม่เกิน ๙ ช่อ และได้มีการตอกโค๊ตไว้ที่ก้าน เป็นโค๊ตรูปเจดีย์และโค๊ตที่เป็นอักขระ "อะ"กับ"หัง" ไว้รวมแล้ว ๒ ด้าน ๖ โค๊ต สวยสมบูรณ์ครับผม
การสร้างพระกริ่งและพระชัยวัฒน์อรหัง ( 6 มกราคม 2517)
เมื่อคณะของ น.พ. สุพจน์ และคุณลุงแก้ว ศิริรัตน์ได้รับอนุญาตให้สร้างพระเครื่องชุดแรกขึ้นแล้ว ก็ได้รับความนิยมจากมหาชนอย่างมาก น.พ. สุพจน์ จึงขออนุญาตหลวงปู่แหวนสร้างพระกริ่ง อะระหังขึ้นอีกรุ่นหนึ่ง โดยขึ้นไปทำพิธีเททองหล่อกันที่วัดดอยแม่ปั๋ง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2517 ปรากฏว่าพระกริ่งชุดนี้ มีผู้สั่งจองกันหมดในเวลาไม่นานนัก (ตระกูลศิริรัตน์ได้เคยสร้างพระเจ้าคุณนรฯ วัดวิเวกวนารามจนโด่งดังมาแล้ว) ในบรรดาพระเครื่องหลวงปู่แหวนที่สร้างมาทั้งหมดพระกริ่งอะระหัง จัดเป็นยอดของพระเครื่อง ทั้งนี้เพราะ
1. พระกริ่งนั้นจัดเป็นยอดของพระเครื่องทั้งปวงอยู่แล้ว เพราะมีกรรมวิธีในการสร้างมากมาย
2. เป็นพระชนิดเดียว ที่หลวงปู่แหวนลงมือเททองด้วยองค์หลวงปู่เอง(สำหรับรูปเหมือนหลวงปู่แหวนใบพัทธสีมาก็เททองที่วัดดอยแม่ปั๋ง แต่หลวงปู่สิม พุทธาจาโรเป็นผู้ถือสายสิญจน์เททองแทนเนื่องจากหลวงปู่แหวนท่านไม่ยอมเททองรูปเหมือนตัวท่าน)
3. โลหะที่นำมาหล่อหลอมเป็นองค์พระเป็นวัตถุชั้นยอด
4. มีกระบวนการสร้างถูกต้องตามตำหรับโบราณาจารย์
5. หลวงปู่แหวนแผ่เมตตาจิตปลุกเสกให้ถึง 3 ครั้ง
6. องค์พระสร้างขึ้นด้วยความสวยงามปราณีตกระทัดรัด
#ส่วนกรรมวิธีในการสร้างมี ดังนี้ พระกริ่งอะระหังและพระชัยวัฒน์ได้กำหนดฤกษ์เททอง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2517 เวลา 12.15 น. ซึ่งเป็นมหามงคลแห่งฤกษ์ ประกอบด้วยมหัทธโนฤกษ์ เป็นฤกษ์ที่ปราบศัตรูที่คิดร้ายให้พ่ายแพ้พินาศโดยสิ้นเชิง และเป็นฤกษ์มหานิยม อุดมด้วยโภคทรัพย์สิริมงคลทุกประการ ซึ่งเป็นการคำนวณฤกษ์ที่แม่นยำที่ตามความเป็นจริงของเหตุการณ์ที่ผ่านมา คือในระหว่างการสร้างมีผู้คัดค้านให้ร้ายอยู่ตลอดเวลาแต่ในที่สุดก็ทำอะไรไม่ได้ เมื่อเปิดสั่งจองก็มีผู้จองหมด อย่างรวดเร็ว เริ่มแรกหลวงปู่แหวนจุดเทียนชัยเมื่อเวลา 11.05 น. และหลวงปู่แหวนได้พูดว่าฤกษ์เป็นของพระพิธี และสถานที่เททองได้ประกอบพิธีอย่างถูกต้องตามตำหรับโบราณาจารย์ทุกประการมีราชวัตรฉัตรธง หลวงปู่แหวนได้แนะนำให้จัดพิธีกลางแจ้งใต้ต้นไม้ใหญ่หน้ากุฏิของท่าน ๆ บอกว่าต้นไม้นี้มีเทพศักดิ์สิทธิ์สิงสถิตย์อยู่ และได้โยงสายสิญจน์ที่องค์พระประธาน ในพระวิหาร มารอบกุฏิหลวงปู่มาถึงต้นไม้ใหญ่กลางแจ้งล้อมรอบ วัสดุสิ่งของและชนวนโลหะต่าง ๆ ในพิธีเททองทั้งหมดเป็นปริมณฑล กว้างขวางมาก ได้นิมนต์พระสงฆ์มาสวดธรรมจักรกัปปวัตนสูตร และสวดชยันโต ตลอดพิธีเททองเมื่อถึงกำหนดฤกษ์เททองเวลา 12.15 น. หลวงปู่แหวนเข้าที่นั่งปรกบริกรรมปลุกเสก และอธิษฐานจิตภาวนา ควบคุมการเททอง โดยจับสายสิญจน์เททองจนเสร็จพิธีเป็นวาระแรก หลังจากเททองเสร็จพิธีแล้ว ได้ทุบหุ่นนำพระกริ่งและพระชัยวัฒน์ที่สร้างเสร็จแล้วนี้ เข้ากระทำพิธีพุทธาภิเษกในคืนนั้นทันที
#โดยหลวงปู่แหวน สุจิณโณ เมตตาปลุกเสกให้ตลอดคืนเป็นวาระที่2 และเมื่อแต่งพระเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ได้นำพระกริ่งขึ้นไปให้หลวงปู่แหวนเสกอีกเป็นวาระที่ 3 แผ่นยันต์ที่นำมาหลอมสร้างพระกริ่งอรหังและพระชัยวัฒน์ รุ่นแรกนี้มีแผ่นทองแดง 108 แผ่น ซึ่งลงยันต์อักขระถูกต้อง ตามพิธีการสร้างพระกริ่งพระชัยวัฒน์ ของสมเด็จพระสังฆราชแพ วัดสุทัศน์ ทุกประการ และมีแผ่นยันต์ของอาจารย์ ซึ่งทรงวิทยาคมหลายท่านคือ
1. แผ่นยันต์ของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ 108 แผ่น
2. แผ่นยันต์ของท่านเจ้าคุณนรรัตน์ฯ วัดเทพศิรินทร์ปลุกเสกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2513
3. แผ่นทองแดง ที่นำไปให้หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพลลงให้
4. แผ่นยันต์ของหลวงพ่อผาง จิตตคุตโต วัดอุดมคงคาคีรีเขต จังหวัดขอนแก่น
5. ทองชนวนพระกริ่งสมเด็จสังฆราชแพ วัดสุทัศน์ ,วัดพิกุลทอง และวัดกษัตราธิราช จากช่างสมร รัชนะธรรม
6. ทองชนวน ของท่านเจ้ามาวัดสามปลื้ม ซึ่งหลวงพ่อพระครูประสิทธิ์ซึ่งเป็นเลขา ท่านเจ้าอาวาสองค์เก่าได้กรุณามอบให้หนักหลายกิโล ซึ่งใช้เป็นเนื้อหลักในการหล่อทั้งสิ้น
#สำหรับจำนวนการสร้างนั้น มีดังนี้
1. พระกริ่ง – ชัยวัฒน์ทองคำ 16 ชุด
2. พระกริ่งเนื้อนวโลหะ 2,517 องค์
3. พระชัยวัฒน์ 1,900 องค์ ในจำนวน 2,517 องค์ ได้จัดเป็นชุดกรรมการขึ้น จำนวนหนึ่งโดยนำพระกริ่งเนื้อนวโลหะไปกะไหล่ทอง, เงิน ด้วย (ขอบคุณข้อมูลพี่บรรเจิดฯ) พระชัยวัฒน์อรหัง หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ เป็นพระชัยวัฒน์รุ่นเดียวที่หลวงปู่แหวนฯ ได้เททองด้วยตัวของท่านเอง สร้างน้อยเพียง 1,900 องค์ และองค์นี้ไม่ตัดช่อ
ผู้เข้าชม
1611 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
มาใหม่
โดย
Nenopoohpooh
ชื่อร้าน
Nenopoohpooh
ร้านค้า
nenopoohpooh.99wat.com
โทรศัพท์
0854610958
ไอดีไลน์
neno130631
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน
ครูบาบุญชุ่ม
เหรียญรุ่น 9 กะไหล่เงิน หลวงปู
เหรียญหล่อฉลุเนื้อทองคำรุ่นแรก
กริ่งนเรศวรวังจันทร์ มหาพิธีพุ
ชินราชใบเสมาปี 2515 พร้อมกล่อง
รูปหปู่ดุลย์เนื้อเงิน ก้นตอกเล
ล็อคเก็ตหลวงพ่อเกษม เขมโก
รุ่น 33 ทองแดงรมย์ดำ
กริ่งทิ้งทวนหลวงพ่อคูณเนื้อเงิ
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
jazzsiam amulet
Ahnnn
Putanarinton
โจ้ ลำนารายณ์
Le29Amulet
fuchoo18
someman
ponsrithong2
pratharn_p
เจริญสุข
โชคเมืองนนท์
kaew กจ.
Chobdoysata
ภูมิ IR
NongBoss
เพ็ญจันทร์
hopperman
พระเครื่องโคกมน
เปียโน
สยามพระเครื่องไทย
นานา
ถุงทอง
Popgomes
ทองธนบุรี
ปลั๊ก ปทุมธานี
hra7215
tplas
หริด์ เก้าแสน
praserth
Johnny T
ผู้เข้าชมขณะนี้ 693 คน
เพิ่มข้อมูล
พระชัยวัฒน์อรหังหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระชัยวัฒน์อรหังหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
รายละเอียด
พระชัยวัฒน์อรหัง หลวงปู่แหวน สุจิณโณ(ไม่ตัดช่อ)
พระกริ่งพระชัยวัฒน์แบบแยกออกมาจากช่อ ในช่อพระกริ่งพระชัยวัฒน์อรหัง หลวงปู่แหวน สุจิณโณ ปี ๒๕๑๗
ในการสร้างครั้งนี้ได้มีการเทพระกริ่ง และพระชัยอรหังเนื้อนวะโลหะ จำนวนการสร้าง ไม่เกิน ๙ ช่อ และได้มีการตอกโค๊ตไว้ที่ก้าน เป็นโค๊ตรูปเจดีย์และโค๊ตที่เป็นอักขระ "อะ"กับ"หัง" ไว้รวมแล้ว ๒ ด้าน ๖ โค๊ต สวยสมบูรณ์ครับผม
การสร้างพระกริ่งและพระชัยวัฒน์อรหัง ( 6 มกราคม 2517)
เมื่อคณะของ น.พ. สุพจน์ และคุณลุงแก้ว ศิริรัตน์ได้รับอนุญาตให้สร้างพระเครื่องชุดแรกขึ้นแล้ว ก็ได้รับความนิยมจากมหาชนอย่างมาก น.พ. สุพจน์ จึงขออนุญาตหลวงปู่แหวนสร้างพระกริ่ง อะระหังขึ้นอีกรุ่นหนึ่ง โดยขึ้นไปทำพิธีเททองหล่อกันที่วัดดอยแม่ปั๋ง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2517 ปรากฏว่าพระกริ่งชุดนี้ มีผู้สั่งจองกันหมดในเวลาไม่นานนัก (ตระกูลศิริรัตน์ได้เคยสร้างพระเจ้าคุณนรฯ วัดวิเวกวนารามจนโด่งดังมาแล้ว) ในบรรดาพระเครื่องหลวงปู่แหวนที่สร้างมาทั้งหมดพระกริ่งอะระหัง จัดเป็นยอดของพระเครื่อง ทั้งนี้เพราะ
1. พระกริ่งนั้นจัดเป็นยอดของพระเครื่องทั้งปวงอยู่แล้ว เพราะมีกรรมวิธีในการสร้างมากมาย
2. เป็นพระชนิดเดียว ที่หลวงปู่แหวนลงมือเททองด้วยองค์หลวงปู่เอง(สำหรับรูปเหมือนหลวงปู่แหวนใบพัทธสีมาก็เททองที่วัดดอยแม่ปั๋ง แต่หลวงปู่สิม พุทธาจาโรเป็นผู้ถือสายสิญจน์เททองแทนเนื่องจากหลวงปู่แหวนท่านไม่ยอมเททองรูปเหมือนตัวท่าน)
3. โลหะที่นำมาหล่อหลอมเป็นองค์พระเป็นวัตถุชั้นยอด
4. มีกระบวนการสร้างถูกต้องตามตำหรับโบราณาจารย์
5. หลวงปู่แหวนแผ่เมตตาจิตปลุกเสกให้ถึง 3 ครั้ง
6. องค์พระสร้างขึ้นด้วยความสวยงามปราณีตกระทัดรัด
#ส่วนกรรมวิธีในการสร้างมี ดังนี้ พระกริ่งอะระหังและพระชัยวัฒน์ได้กำหนดฤกษ์เททอง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2517 เวลา 12.15 น. ซึ่งเป็นมหามงคลแห่งฤกษ์ ประกอบด้วยมหัทธโนฤกษ์ เป็นฤกษ์ที่ปราบศัตรูที่คิดร้ายให้พ่ายแพ้พินาศโดยสิ้นเชิง และเป็นฤกษ์มหานิยม อุดมด้วยโภคทรัพย์สิริมงคลทุกประการ ซึ่งเป็นการคำนวณฤกษ์ที่แม่นยำที่ตามความเป็นจริงของเหตุการณ์ที่ผ่านมา คือในระหว่างการสร้างมีผู้คัดค้านให้ร้ายอยู่ตลอดเวลาแต่ในที่สุดก็ทำอะไรไม่ได้ เมื่อเปิดสั่งจองก็มีผู้จองหมด อย่างรวดเร็ว เริ่มแรกหลวงปู่แหวนจุดเทียนชัยเมื่อเวลา 11.05 น. และหลวงปู่แหวนได้พูดว่าฤกษ์เป็นของพระพิธี และสถานที่เททองได้ประกอบพิธีอย่างถูกต้องตามตำหรับโบราณาจารย์ทุกประการมีราชวัตรฉัตรธง หลวงปู่แหวนได้แนะนำให้จัดพิธีกลางแจ้งใต้ต้นไม้ใหญ่หน้ากุฏิของท่าน ๆ บอกว่าต้นไม้นี้มีเทพศักดิ์สิทธิ์สิงสถิตย์อยู่ และได้โยงสายสิญจน์ที่องค์พระประธาน ในพระวิหาร มารอบกุฏิหลวงปู่มาถึงต้นไม้ใหญ่กลางแจ้งล้อมรอบ วัสดุสิ่งของและชนวนโลหะต่าง ๆ ในพิธีเททองทั้งหมดเป็นปริมณฑล กว้างขวางมาก ได้นิมนต์พระสงฆ์มาสวดธรรมจักรกัปปวัตนสูตร และสวดชยันโต ตลอดพิธีเททองเมื่อถึงกำหนดฤกษ์เททองเวลา 12.15 น. หลวงปู่แหวนเข้าที่นั่งปรกบริกรรมปลุกเสก และอธิษฐานจิตภาวนา ควบคุมการเททอง โดยจับสายสิญจน์เททองจนเสร็จพิธีเป็นวาระแรก หลังจากเททองเสร็จพิธีแล้ว ได้ทุบหุ่นนำพระกริ่งและพระชัยวัฒน์ที่สร้างเสร็จแล้วนี้ เข้ากระทำพิธีพุทธาภิเษกในคืนนั้นทันที
#โดยหลวงปู่แหวน สุจิณโณ เมตตาปลุกเสกให้ตลอดคืนเป็นวาระที่2 และเมื่อแต่งพระเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ได้นำพระกริ่งขึ้นไปให้หลวงปู่แหวนเสกอีกเป็นวาระที่ 3 แผ่นยันต์ที่นำมาหลอมสร้างพระกริ่งอรหังและพระชัยวัฒน์ รุ่นแรกนี้มีแผ่นทองแดง 108 แผ่น ซึ่งลงยันต์อักขระถูกต้อง ตามพิธีการสร้างพระกริ่งพระชัยวัฒน์ ของสมเด็จพระสังฆราชแพ วัดสุทัศน์ ทุกประการ และมีแผ่นยันต์ของอาจารย์ ซึ่งทรงวิทยาคมหลายท่านคือ
1. แผ่นยันต์ของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ 108 แผ่น
2. แผ่นยันต์ของท่านเจ้าคุณนรรัตน์ฯ วัดเทพศิรินทร์ปลุกเสกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2513
3. แผ่นทองแดง ที่นำไปให้หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพลลงให้
4. แผ่นยันต์ของหลวงพ่อผาง จิตตคุตโต วัดอุดมคงคาคีรีเขต จังหวัดขอนแก่น
5. ทองชนวนพระกริ่งสมเด็จสังฆราชแพ วัดสุทัศน์ ,วัดพิกุลทอง และวัดกษัตราธิราช จากช่างสมร รัชนะธรรม
6. ทองชนวน ของท่านเจ้ามาวัดสามปลื้ม ซึ่งหลวงพ่อพระครูประสิทธิ์ซึ่งเป็นเลขา ท่านเจ้าอาวาสองค์เก่าได้กรุณามอบให้หนักหลายกิโล ซึ่งใช้เป็นเนื้อหลักในการหล่อทั้งสิ้น
#สำหรับจำนวนการสร้างนั้น มีดังนี้
1. พระกริ่ง – ชัยวัฒน์ทองคำ 16 ชุด
2. พระกริ่งเนื้อนวโลหะ 2,517 องค์
3. พระชัยวัฒน์ 1,900 องค์ ในจำนวน 2,517 องค์ ได้จัดเป็นชุดกรรมการขึ้น จำนวนหนึ่งโดยนำพระกริ่งเนื้อนวโลหะไปกะไหล่ทอง, เงิน ด้วย (ขอบคุณข้อมูลพี่บรรเจิดฯ) พระชัยวัฒน์อรหัง หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ เป็นพระชัยวัฒน์รุ่นเดียวที่หลวงปู่แหวนฯ ได้เททองด้วยตัวของท่านเอง สร้างน้อยเพียง 1,900 องค์ และองค์นี้ไม่ตัดช่อ
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
1699 ครั้ง
สถานะ
มาใหม่
โดย
Nenopoohpooh
ชื่อร้าน
Nenopoohpooh
URL
http://www.nenopoohpooh.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0854610958
ID LINE
neno130631
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี